ตัวแปร (Variable)

ตัวแปร (variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่ออ้างอิงถึงตำแหน่งหน่วยความจำที่ใช้จัดเก็บข้อมูล และสามารถเรียกค่าข้อมูลที่เก็บอยู่ออกมาใช้ กระบวนการสร้างตัวแปรเรียกว่าการประกาศตัวแปร

  • ภายในชื่อของตัวแปลประกอบด้วย a-z, A-Z, 0–9 หรือ เครื่องหมาย _
  • ห้ามเป็นช่องว่างหรือเครื่องหมายอื่น
  • ตัวอักษรพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่จะแตกต่างกัน (Case Sensitive)
  • ห้ามใช้คำสงวน (reserved words) ในการตั้งชื่อ
  and        del         from        not       while    
as elif global or with
assert else if pass yield
break except import print
class exec in raise
continue finally is return
def for lambda try
#การตั้งขื่อตัวแปรที่ถูกต้อง:
myvar = "John"
my_var = "John"
_my_var = "John"
myVar = "John"
MYVAR = "John"
myvar2 = "John"
การตั้งชื่อตัวแปลผิด:
2myvar = “John”
my-var = “John”
my var = “John”
#ตัวแปร name มีค่าเท่ากับ My name is Python เป็นชนิดข้อความ
name = "My name is Python"
#ตัวแปร income มีค่าเท่ากับ 15000 เป็นชนิดจำนวนเต็ม
income = 15000

#ตัวแปร grade มีค่าเท่ากับ 4.0 เป็นจำนวนทศนิยม
grade = 4.0
#สร้างตัวแปร x มีค่าเท่ากับ Orange, y มีค่าเท่ากับ Banana, z มีค่าเท่ากับ Cherry
x, y, z = "Orange", "Banana", "Cherry"
print(x) #แสดงผลตัวแปร x
print(y) #แสดงผลตัวแปร y
print(z) #แสดงผลตัวแปร z
สร้างตัวแปร x y z มีค่าเท่สกับ Orange
x = y = z = "Orange"
print(x)
print(y)
print(z)

ชนิดข้อมูล (Data Types)

1. ข้อมูลชนิดตัวเลข (Number)

– int ตัวเลขจำนวนเต็ม เช่น 1, 2, 3, 4, 5
– float ตัวเลขมีทศนิยม เช่น 1.2, 2.5, 5.43, 9.345
– complex ตัวเลขจำนวนเชิงซ้อน โดยเขียนอยู่ในรูปแบบ x+yi โดย
เรียก x ว่า ส่วนจริง เรียก y ว่า ส่วนจินตภาพ ส่วน i ในภาษาไพทอน (Python) สามารถใช้ ‘j’ หรือ ‘J’ หลังตัวเลข สร้างส่วน จินตภาพเพื่อสร้างจำนวนเชิงซ้อน

#ตัวอย่างข้อมูลชนิดตัวเลข
a = 10 #ตัวแปร a มีค่าเท่ากับ 10 เป็นชนิดจำนวนเต็ม
b = 0b1010 #ตัวแปร b เก็บข้อมูลเลขฐาน 2 มีค่าเท่ากับ 10 เป็นชนิดจำนวนเต็ม
c = 0o12 #ตัวแปร c เก็บข้อมูลเลขฐาน 8 มีค่าเท่ากับ 10 เป็นชนิดจำนวนเต็ม
d = 0xA #ตัวแปร d เก็บข้อมูลเลขฐาน 16 มีค่าเท่ากับ 10 เป็นชนิดจำนวนเต็ม
e = 10.0 #ตัวแปร e มีค่าเท่ากับ 10.0 เป็นชนิดจำนวนทศนิยม
f = 10+2j #ตัวแปร f มีค่าเท่ากับ 10+2j เป็นชนิดจำนวนเชิงซ้อน

2. ข้อมูลชนิดค่าความจริง (Boolean)

เป็นข้อมูลที่มีค่าเป็นจริงหรือเท็จเท่านั้น โดยจะแทนด้วย True และ False

#ตัวอย่างข้อมูลชนิด Boolean
a = True
b = False
c = 1>2
d = 5 == 3

3. ข้อมูลชนิด None

เป็นข้อมูลที่ไม่มีค่า หรือยังไม่ได้กำหนดค่า

#ตัวอย่างข้อมูล None
a = None

4. ข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequence)

เป็นข้อมูลที่จัดเก็บเรียงลำดับต่อกัน ได้แก่ String, List, Tuple

#ตัวอย่างข้อมูล string
str_a = "hello python"
str_b = "สวัสดี python"
str_c = "20"
str_d = '20'
str_e = "ยินดีต้อนรับสู่" \
"ประเทศไทย"
#ตัวอย่างข้อมูลประเภท List
list_a = [1, 2, 3, 4, 5]
list_b = [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’]
list_c = [‘python’, True, 10, 4, 1.5]
list_d = [] #empty list
list_c # ตัวแปร list_c มีค่าเท่ากับ ['python', True, 10, 4, 1.5]
list_c[0] # ตัวแปร list_c[0] มีค่าเท่ากับ 'python'
list_c[1] # ตัวแปร list_c[1] มีค่าเท่ากับ True
list_c[2] # ตัวแปร list_c[2] มีค่าเท่ากับ 10
list_c[3] # ตัวแปร list_c[3] มีค่าเท่ากับ 4
list_c[4] # ตัวแปร list_c[4] มีค่าเท่ากับ 1.5
list_c[-1] # ตัวแปร list_c[-1] มีค่าเท่ากับ 1.5
#ตัวอย่างข้อมูลประเภท Tuple
tuple_a = (1, 2, 3, 4, 5)
tuple_b = 'a', 'b', 'c', 'd', 'e'
tuple_c = ('python', True, 10, 4, 1.5)
tuple_d = () #empty tuple
tuple_c # ตัวแปร tuple_c มีค่าเท่ากับ ('python', True, 10, 4, 1.5)
tuple_c[0] # ตัวแปร tuple_c[0] มีค่าเท่ากับ 'python'
tuple_c[1] # ตัวแปร tuple_c[1] มีค่าเท่ากับ True
tuple_c[2] # ตัวแปร tuple_c[2] มีค่าเท่ากับ 10
tuple_c[3] # ตัวแปร tuple_c[3] มีค่าเท่ากับ 4
tuple_c[4] # ตัวแปร tuple_c[4] มีค่าเท่ากับ 1.5
tuple_c[-1] # ตัวแปร tuple_c[-1] มีค่าเท่ากับ 1.5

5. ข้อมูลชนิดเซต (Set)

เป็นข้อมูลที่เรียงต่อกันคั่นด้วยเครื่องหมายคอมมา (,) ภายในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา { } สามารถเพิ่ม แก้ไข ลบข้อมูลและเป็นค่าว่างได้ แต่การจัดเก็บข้อมูลจะไม่มีลำดับ และจะไม่เก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน ดังนั้นจะไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลด้วยตำแหน่งข้อมูล (index)

## ตัวอย่างข้อมูลประเภท Set
set_a = {1,2.5,3,'Thailand'}
set_b = {1,2.5,3,True,'Thailand'}
set_c = {1,2.5,3,'Thailand','Thailand'}
set_d = {}

6. ข้อมูลชนิดดิกชันนารี (Dictionary)

เป็นข้อมูลที่เรียงต่อกันคั่นด้วยเครื่องหมายคอมมา (,) ภายในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา { } และอยู่ในรูปแบบของ key:value

## ตัวอย่างข้อมูลประเภท Dictionarydict_salary = {'Peter': 150000, 'Stark':200000, 'Thor':0}dict_salary['Peter']
dict_salary['Stark']
dict_salary['Thor']

การตรวจสอบชนิดของข้อมูล

การตรวจสอบชนิดข้อมูลโดยใช้ฟังก์ชัน type()

a = 20
type(a)
output : int

การแปลงชนิดข้อมูล

  • int(x[,base]) แปลงข้อมูล x เป็นจำนวนเต็ม จากฐานที่กำหนด
  • float(x) แปลง x ให้เป็นทศนิยม
  • complex(real[,im]) สร้างจำนวนเชิงซ้อนจากค่า real และ imagine
  • str(x) แปลง x ให้เป็นตัวอักษร
  • tuple(s) แปลงข้อมูลแบบ sequence s เป็น tuple
  • list(s) แปลงข้อมูลแบบ sequence s เป็น list
  • set(s) แปลงข้อมูลแบบ sequence s เป็น set
  • dict(d) แปลงข้อมูล d เป็นข้อมูล dictionary
  • chr(x) แปงข้อมูล x ให้เป็นอักขระ

Summary

ประกาศตัวแปรใน Python ด้วยเครื่องหมาย = เวลาตั้งชื่อก็ตั้งให้อ่านง่ายๆ สื่อความหมายตามข้อมูลที่จัดเก็บ

ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมคำนวณ อายุ

LEAVE A REPLY

Please enter your comment!
Please enter your name here